|
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
วีรกษัตริย์ไทย
เปิดประวัติศาสตร์การสร้าง
พระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสิน
มหาราชและเหรียญหลวงพ่อเฉย
พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ประจำวัดใหญ่
อินทาราม อ.เมือง จ.ชลบุรี
จัดสร้างเป็นครั้งแรกของวัด
แหวนแปดทิศ
เนื้อเงินลงยาราชาวดี
บูชา 1,800 บาท
พระนางพญา
รุ่นเปิดกรุ2514
พบในกรุไม่เกิน 7 พันองค์
- พิมพ์สังฆาฏิ (หมดแล้ว)
- พิมพ์เข่าโค้ง (หมดแล้ว)
พระกริ่งจักรตรี
72 พรรษาราชินี
หลวงพ่อสด
วัดปากน้ำ
เหรียญพลังจักรวาล
รุ่นชนะมาร
บูชาเหรียญละ 1,800 บาท
(พร้อมเลี่ยมแล้ว)
พระแก้วมรกต
ภ.ป.ร.
หลวงพ่อทวด
ภ.ป.ร.
เสือมหาอำนาจ วัดหัวลำโพง เนื้อนวะ บูชา 400 บาท
พระยูไลฮุกโจ้ว วัดหัวลำโพง
(พระอมิตาภะพุทธเจ้า)
จัดสร้างเป็นครั้งแรกในรอบ 50 ปี
*** ไม่ชาร์จค่าธรรมเนียมใดๆทั้งสิ้น ***
ยกเว้นวัตถุมงคลเนื้อทองคำชาร์จ 2% |
|
เปิดประวัติศาสตร์การสร้างพระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
และเหรียญหลวงพ่อเฉยพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ประจำวัดใหญ่อินทาราม
อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี จัดสร้างเป็นครั้งแรกของวัด
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเชิดชูพระเกียรติคุณของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
2. เพื่อจัดหาทุนสนับสนุนการศึกษาพระปริยัติธรรม
3. เพื่อจัดหาทุนทรัพย์บูรณปฏิสังขรณ์
เสนาสนะสงฆ์
4. เพื่อจัดหาทุนสงเคราะห์การศึกษาแก่เด็กและเยาวชน
พิธีมหาพุทธาภิเษกวันที่
10 มีนาคม 2548 ณ พระอุโบสถวัดใหญ่อินทาราม
กำหนดรับวัตถุมงคล
ตั้งแต่วันที่ 20 มีนาคม 2548 เป็นต้นไป
ประวัติความเป็นมา
|
พระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ประดิษฐานอยู่หน้าวัดใหญ่อินทาราม
อำเภอเมือง จ.ชลบุรี |
วัดใหญ่อินทาราม (พระอารามหลวงชั้นตรี)
ชนิดสามัญ
ตั้งอยู่เลขที่ 848 ถ.เจตน์จำนงค์ ต.บางปลาสร้อย อ.เมือง จ.ชลปรี มีเนื้อที่ประมาณ
28 ไร่เศษ เป็นอาราม
สำคัญที่มีอายุการเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองชลบุรีมาแต่โบราณ เป็นวัดที่สร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา
วัดตั้งอยู่ใจกลางเมือง จ.ชลบุรี
แต่เดิมคนทั่วไปเรียกว่าวัดหลวง หรือวัดใหญ่ ซึ่งตรงกับที่กล่าวไว้ในพงศาวดารว่า
" วัดหลวง" เป็นวัดที่สมเด็จพระเจ้าตาก
สินมหาราช เมื่อครั้งเป็นพระยาวชิรปราการ ได้เคยเสด็จมาพักรวบรวมไพร่พลเพื่อกอบกู้เอกราชบ้านเมือง
วัดใหญ่อินทาราม
ได้รับการประกาศจากทางราชการตั้งเป็นวัดเมื่อพ.ศ. 2325 ได้รับพระราชทานวิสูงครามมสีมา
พ.ศ. 2335 ได้รับพระมหา
โปรดเกล้าฯ ให้ยกเป็นพระอารามหลวงชั้นตรี เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2518 ปัจจุบันพระปริยัติธาดา
(เอนก ฐานิสฺสโน) ดำรง
ตำแหน่งเจ้าอาวาส และรองเจ้าคณะจังหวัดชลบุรี ท่านมีความคิดที่จะจัดสร้างวัตถุมงคลพระบรมรูปพระเจ้าตากสินมหาราช
และเหรียญหลวงพ่อเฉย เพราะทางวัดยังไม่เคยมีการจัดสร้างวัตถุมงคลมาก่อน ซึ่งถือว่าเป็นครั้งแรกในการจัดสร้างของวัด
เพื่อเป็นการเทอดทูลวีรกษัตริย์ไทยที่ท่านสามารถกอบกู้บ้านเมืองมาจนทุกวันนี้
หลวงพ่อเฉย
|
หลวงพ่อเฉย
พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ประจำวัด |
หลวงพ่อเฉย
วัดใหญ่อินทาราม (พระอารามหลวง) จ.ชลปรี เป็นพระพุทธปฏิมาทรงเครื่องศิลปะสมัยอยุธยา
เดิมที
ีหลวงพ่อเฉยเป็นพระพุทธรูปประจำอยู่วัดสมรโกฏ อันเป็นวัดที่สร้างในยุคเดียวกันกับวัดใหญ่อินทาราม
(พระอารามหลวง)
แต่ต่อมาภายหลังวัดสมรโกฏไม่มีพระภิกษุอยู่จำพรรษา และขาดผู้อุปถัมภ์บำรุงวัด
เลยกลายเป็นวัดร้างไปวิหารที่ประทับของ
หลวงพ่อเฉยก็ชำรุดทรุดโทรม ขาดผู้บูรณะ ซ่อมแซม ก็ผุพังทำลายลงไปตามกาลเวลา
หลวงพ่อเฉยประดิษฐานประทับนั่งอยู่
กลางแจ้ง ลม ฝน แดดส่อง อยู่นานหลายปี เป็นที่สังเวชอเนจอนาถต่อสายตาของผู้มาพบเห็น
ชาวบ้านชาวเมืองได้ขนานนาม
ท่านว่า " หลวงพ่อเฉย " เพราะท่านประทับนั่งเฉยอยู่กลางแจ้ง ฝนตก
แดดออก มาถูกต้องท่าน ท่านก็ไม่ได้บ่นได้ว่าอะไรจึงได้
นามว่า " หลวงพ่อเฉย" ตามที่ประชาชนเรียกขานกันดังที่กล่าวมา
ต่อมาภายหลัง
ประชาชน ชาวบ้านนิมนต์ (อัญเชิญ) ย้ายท่านจากวัดร้างสมรโกฏมาอยู่ ณ วัดใหญ่อินทาราม
(พระ
อารามหลวง) จนถึงปัจจุบันนี้ หลายร้อยปีผ่านมาและได้เป็นพระพุทธรูปประจำอยู่ศาลา
9 ห้อง อันเป็นศาลาบำเพ็ญกุศลใน
สมัยของพระเดชพระคุณท่านเจ้าคุณพระราชพรหมาจารย์ อดีตเจ้าอาวาสวัดใหญ่อินทาราม
รูปที่ 7 ได้ย้ายขึ้นไปประจำอยู่
บนศาลามหาราชที่บำเพ็ญกุศลหลังใหม่ มาอยู่จนตราบเท่าทุกวันนี้
พระอัจฉริยประวัติโดยสังเขปของพระเจ้าตากสินมหาราช
วีรกษัตริย์ไทย
พระเจ้าตากสินมหาราช
หรือพระเจ้ากรุงธนบุรี อดีตวีรกษัตริย์ไทย ทรงถือกำเนิดขึ้นมาในตระกูลสามัญชน
บิดาเป็น
จีนแต้จิ๋ว จากแผ่นดินหญ่ ชื่อ แต้ตั๊ก (ขุนพัฒน์ หรือ จีนไหฮอง) แซ่แต้
เป็นชาวตำบลฮั่วปูเฮีย อำเภอเท่งไฮ้ จังหวัดแต้จิ๋ว
มณฑลกวางตุ้ง เดินทางเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารตอนปลายสมัยอยุธยา ก่อร่างสร้างตนขึ้นมาจนมีฐานะมั่นคง
ระดับเจ้า
สัว (เศรษฐีชาวจีน) ผู้หนึ่ง แห่งกรุงศรีอยุธยา รู้จักคุ้นเคยสนิทสนมกับบรรดาเจ้านาย
เสนาบดี มีภรรยาเป็นคนไทย ชื่อ นางนก
เอี้ยง เป็นผู้กำเนิดพระมหาวีรราชเจ้า ซึ่งเป็นผู้กู้อิสรภาพของชาติไทยกลับคืนมาจากพม่าข้าศึกในปี
พุทธศักราช 2310
พิธีเททองเป็นปฐมฤกษ์
พิธีเททองเป็นปฐม
เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2547 จำนวน 99 องค์ เพื่อนำชนวนมวลสารมาจัดสร้างวัตถุมงคล
โดยมี
พระปริยัติธาดา เจ้าอาวาสวัดใหญ่อินทาราม รองเจ้าอาวาสคณะจังหวัดชลบุรี เป็นประธานฝ่ายสงฆ์
นายพิสิฐ เกตุผาสุข ผู้ว่า
ราชการ จังหวัดชลบุรี ประธานฝ่ายฆราวาส พร้อมด้วยนายประโยชน์ เนื่องจำนงค์
พระราชสุธี วัดเทวราชกุญชร กรุงเทพฯ
เจริญชัยมงคลคาถา
รายการวัตถุมงคล
1.
รายการพระบรมรูปบูชา 5 นิ้ว
2.
รายการเหรียญขนาดใหญ่ (2.7 ซม.) และ เล็ก (1.4 ซม.)
|
เหรียญทองคำ
(ด้านหน้า) หลวงพ่อเฉย
( ด้านหลัง) พระเจ้าตากสินมหาราช |
|
เหรียญเงิน
(ด้านหน้า) หลวงพ่อเฉย
( ด้านหลัง) พระเจ้าตากสินมหาราช |
|
เหรียญทองแดง
(ด้านหน้า) หลวงพ่อเฉย
( ด้านหลัง) พระเจ้าตากสินมหาราช |
รายละเอียดวัตถุมงคล
ลำดับ |
รายการ |
จ.น.สร้าง |
บูชา |
1. |
พระบรมรูปพระเจ้าตากสิน |
|
|
|
ปิดทอง |
599 |
7,999 (หมด) |
|
เนื้อประกายเงิน |
599 |
3,499 (หมด) |
|
เนื้อรมมันปู |
1,999 |
2,499 (หมด) |
|
ตั้งหน้ารถ |
1,999 |
499 (หมด) |
2. |
เหรียญขัดเงา 2 หน้า หลวงพ่อเฉยและพระเจ้าตากสิน
(2.7 ซม.) |
|
|
|
ทองคำ นน. 18 กรัม
|
ตามสั่งจอง |
18,999 (หมด) |
|
เงิน |
999 |
1,199 (หมด) |
|
ทองแดงชุบ |
5,999 |
399 (หมด) |
|
นิเกิ้ล |
5,999 |
149 (หมด) |
3. |
เหรียญขัดเงา 2 หน้า หลวงพ่อเฉยและพระเจ้าตากสิน
(1.4 ซม.) |
|
|
|
ทองคำ นน. 7 กรัม |
ตามสั่งจอง |
9,999 (หมด) |
|
เงิน |
999 |
900 (หมด) |
|
ทองแดงชุบ |
5,999 |
299 (หมด) |
|
นิเกิ้ล |
5,999 |
99 (หมด) |
|